ฝุ่น PM 2.5 มาจากไหน… zDOX ช่วยได้อย่างไร?

มารู้จัก ฝุ่น PM 2.5         PM 2.5 คือ ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน (ไมครอนเป็นหน่วยวัดละออง ใช้วัดค่าฝุ่นละออง) เป็นส่วนหนึ่งของฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM 10) ประกอบไปด้วยสารต่าง ๆ เช่น ฝุ่น ฝุ่นละออง สารเคมี และไอเสียจากการเผาไหม้ ที่มีขนาดเล็กมากเกินไปที่จะถูกกรองออกจากระบบหายใจของมนุษย์โดยปกติ     …

Continue Readingฝุ่น PM 2.5 มาจากไหน… zDOX ช่วยได้อย่างไร?
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11
Article 11

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11 มาตรา 11 ห้ามมิให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐาน ในกระบวนการพิจารณาตาม กฎหมายเพียงเพราะ เหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ในการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ จะเชื่อถือได้หรือไม่เพียงใดนั้น ให้พิเคราะห์ถึงความน่าเชื่อถือของลักษณะหรือ วิธีการที่ใช้สร้าง เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 11
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12
Article 10 and 12

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12 มาตรา 10 (e-Original) รองรับเอกสารต้นฉบับ ซึ่งมีวิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้อง ของข้อความตั้งแต่ข้อความเสร็จสมบูรณ์และสามารถแสดงข้อความนั้นภายหลังได้ โดยความถูกต้องให้ พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดของข้อความ เว้นแต่การรับรองหรือบันทึกเพิ่มเติม หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28
Article 9, 26 and 28

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28 มาตรา 9 เป็นลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบใดๆ (อักษร อักขระ ตัวเลข เสียงหรือสัญลักษณ์ อื่นใดที่สร้างขึ้นให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์) มาตรา…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 9, 26 และ 28
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8
Article 8

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมาย "ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์" หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8 มาตรา 8 การจัดทำข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและนำกลับมาใช้ได้ โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลงให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทำเป็นหนังสือมีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว เอกสารที่ลงนามด้วย e-Signature มีผลตามกฎหมาย ตรวจสอบได้!! ตัวอย่าง ตามเนื้อหาการ์ตูนเซ็นสัญญาจ้างงานระหว่าง เชนทร์…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 8

การตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัล ไฟล์ PDF

การตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ในเอกสารอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบไฟล์ PDF ตามที่กฎหมายกำหนด เบื้องต้นมี 2 วิธี คือตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัลด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat Reader DCตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัลด้วยระบบตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (TEDA Web Validation Portal) ตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัลไฟล์ PDF ด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat Reader DC มีขั้นตอนดังนี้1. เปิดโปรแกรม Adobe Acrobat Reader…

Continue Readingการตรวจสอบลายมือชื่อดิจิทัล ไฟล์ PDF
Read more about the article พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7
Article 7

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7 มาตรา 7 ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายความว่า มีสัญญากู้ยืมเงิน แต่เจ้าหนี้ยกหนี้ให้ทางข้อความไลน์ ไม่ต้องจ่ายคืนแล้วใช่ไหม ? ตัวอย่าง ตามเนื้อหาการ์ตูนกู้ยืมเงินระหว่าง ซงคัง และ พัคแจออน…

Continue Readingพ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 7

กรมบัญชีกลาง ประกาศให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดซื้อจัดจ้างได้…

หน่วยงานของรัฐได้นำรูปแบบการดำเนินการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการทำงานมากขึ้น เพื่อความสะดวก คล่องตัว ลดขั้นตอนในการดำเนินงาน และลดการใช้กระดาษ เช่น ระบบการอนุมัติ การอนุญาตหรือการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น สถานการณ์ปัจจุบันหน่วยงานของรัฐ ได้ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานนอกสถานที่ตั้งของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งอาจส่งผลให้หน่วยงานของรัฐไม่สามารถดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐ เซ่น กรณีการรับข้อเสนอของผู้ประกอบการบางวิธีที่กำหนดให้ยื่นข้อเสนอโดยตรงต่อหน่วยงานของรัฐ โดยไม่ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e - GP) และการลงนามในสัญญา เป็นต้น คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (คณะกรรมการวินิจฉัย) โดยได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พิจารณาแล้วเห็นว่า ปัจจุบันพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๔๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม…

Continue Readingกรมบัญชีกลาง ประกาศให้ใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการจัดซื้อจัดจ้างได้…
Read more about the article ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ สะดวก เชื่อใจได้ … ไม่ปลอม!!!
ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ eSignature can't fake

ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ สะดวก เชื่อใจได้ … ไม่ปลอม!!!

ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ : กรณีการปลอมลายเซ็นเพื่อเบิกเงินจากทางธนาคาร หรือเพื่อทำธุรกรรมในการโอนทรัพย์สิน เกิดขึ้นหลายต่อหลายครั้ง หลายกรณีสามารถฟ้องร้องชนะคดีได้ทรัพย์สินคืนแต่กว่าจะชนะก็ต้องใช้ระยะเวลานานหลายปี ส่วนบางกรณีถึงจะความพยายามนานหลายปีก็ไม่สามารถชนะคดีได้ คำถามที่เกิดขึ้นคือ การเซ็นเอกสารด้วยปากกาถึงแม้จะมีผลตามกฎหมายก็ตาม เราจะเชื่อได้อย่างไรว่าลายเซ็นเป็นของคนนั้นจริงๆ ด้วยเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้น จึงเกิดการพัฒนาลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (eSignature) เพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องการปลอมแปลงลายเซ็น โดยใช้เทคโนโลยีการเข้ารหัสและการยืนยันตัวตนของผู้เซ็น ทำให้มั่นใจได้ว่าลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์นี้ถูกเซ็นจากเจ้าของลายเซ็นจริงๆ ทำไม ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ จึงปลอดภัยมากกว่าลายเซ็นจากปากกา คำถามทั่วไปที่ผู้คนมักจะสงสัยคือ “ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ของฉันสามารถปลอมแปลงและนำไปใช้ในทางที่ผิดหรือคัดลอกได้หรือไม่” ความจริงก็คือ ลายเซ็นจากปากกาสามารถปลอมแปลงและดัดแปลงได้อย่างง่ายดาย ในขณะที่ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (eSignature) มีการรักษาความปลอดภัยและการตรวจสอบความถูกต้องหลายชั้น พร้อมกับหลักฐานการทำธุรกรรมที่ศาลยอมรับได้ ข้อมูลการใช้ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (eSignature) zDox…

Continue Readingลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ สะดวก เชื่อใจได้ … ไม่ปลอม!!!