Categories: e-signature

พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12

กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับการใช้งาน e-Signature

กฎหมาย “ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) เป็นกฎหมายกลางที่รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีผลผูกพันและใช้บังคับได้ตามกฎหมาย

ยกตัวอย่างกรณี พ.ร.บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 มาตรา 10 และ 12

มาตรา 10  (e-Original) รองรับเอกสารต้นฉบับ ซึ่งมีวิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้อง
ของข้อความตั้งแต่ข้อความเสร็จสมบูรณ์และสามารถแสดงข้อความนั้นภายหลังได้ โดยความถูกต้องให้
พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดของข้อความ เว้นแต่การรับรองหรือบันทึกเพิ่มเติม
หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ตามปกติในการติดต่อสื่อสาร การเก็บรักษา หรือการแสดง
ข้อความซึ่งไม่มีผลต่อความถูกต้องของข้อความนั้น

มาตรา 12 (e-Archive) รองรับการเก็บรักษาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเอกสารต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง
รวมถึงสามารถตรวจสอบได้ถึงขั้นตอน วันเวลาในการสร้าง ส่ง และจัดเก็บ เก็บไว้เมื่อไหร่กับใคร

การจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์สามารุตรวจสอบได้และถูกต้องตามกฎหมาย

ตัวอย่าง ตามเนื้อหาการ์ตูนพื้นที่เก็บเอกสารไม่พอในบริษัทแห่งนึง

จากเนื้อเรื่องที่ จุนคุยกับหัวหน้าฮง ว่า

  1. ประโยคที่ หัวหน้าฮง พูดว่า “เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มี Digital Signature เราสามารถตรวจสอบได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ตรงตาม มาตรา 10 พ.ร.บ. ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์” จะเป็นไปตามมาตรา 10 บัญญัติว่า * รองรับเอกสารต้นฉบับ ซึ่งมีวิธีการที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความตั้งแต่ข้อความเสร็จสมบูรณ์และสามารถแสดงข้อความนั้นภายหลังได้ โดยความถูกต้องให้พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดของข้อความ เว้นแต่การรับรองหรือบันทึกเพิ่มเติม หรือการเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ตามปกติในการติดต่อสื่อสาร การเก็บรักษา หรือการแสดงข้อความซึ่งไม่มีผลต่อความถูกต้องของข้อความนั้น
  2. ประโยคที่ หัวหน้าฮง พูดว่า “ระบบมันปลอดภัยนะ ใครเป็นคนสร้างเอกสาร ใครเซ็น เซ็นเมื่อไหร่ ส่งเอกสารให้ใคร จัดเก็บไว้เมื่อไหร่ ระบบมันเช็คได้หมดเลย อีกอย่าง ตรงตาม มาตรา 12 พ.ร.บ. ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์” จะเป็นไปตามมาตรา 12 บัญญัติว่า * รองรับการเก็บรักษาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเอกสารต้องไม่มีการเปลี่ยนแปลง รวมถึงสามารถตรวจสอบได้ถึงขั้นตอน วันเวลาในการสร้าง ส่ง และจัดเก็บ เก็บไว้เมื่อไหร่กับใคร
kannika

Recent Posts

ฝุ่น PM 2.5 มาจากไหน… zDOX ช่วยได้อย่างไร?

มารู้จัก ฝุ่น PM 2.5         PM 2.5 คือ ฝุ่นละอองขนาดเล็กที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน (ไมครอนเป็นหน่วยวัดละออง ใช้วัดค่าฝุ่นละออง)…

2 months ago

กระดาษสำคัญอย่างไร

ลดปริมาณการใช้กระดาษ = ลดโลกร้อน           ปัจจุบันคนไทยใช้กระดาษเฉลี่ยปีละ 3.9 ล้านตัน หรือคนละประมาณ 60 กิโลกรัม/ปี และเพื่อสนองความต้องการใช้กระดาษต้องตัดต้นไม้ถึง…

3 months ago

ทำความรู้จักลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (e-signature)

ทำความรู้จักลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (e-signature)          e-signature หรือ Electronic Signature คือ ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ ใช้เพื่อยืนยันความถูกต้องของข้อมูลหรือเอกสาร ที่ถูกสร้าง และส่งผ่านทางออนไลน์…

3 months ago

e-KYC มีบทบาทอย่างไรกับ zDOX

e-KYC คืออะไร        e-KYC (Electronic Know Your Customer) เป็นกระบวนการที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการยืนยัน และตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้งาน โดยเป็นวิธีที่ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้อง และความเป็นจริงของข้อมูลที่ผู้ใช้ได้ระบุในขั้นตอนการลงทะเบียนหรือเปิดบัญชีกับองค์กรหรือบริการทางด้านการเงิน ตัวอย่างเช่น เปิดบัญชีธนาคารผ่านการยืนยันตัวตนออนไลน์ หรือการสมัครบัตรประชาชนผ่านแอปพลิเคชันที่มีการตรวจสอบข้อมูลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ แทนที่จะต้องเข้าสำนักงานดำเนินกระบวนการในแบบเอกสาร และบริการแบบดั้งเดิมทางออฟไลน์ …

4 months ago

แยกขยะก่อนทิ้ง ช่วยให้โลกน่าอยู่ยิ่งขึ้น

เมื่อต้องทิ้งขยะ แต่ไม่รู้ว่าขยะที่จะทิ้ง เป็นขยะประเภทใด แล้วต้องทิ้งลงถังสีอะไร       หมดยุคของการทิ้งขยะรวมกันในถังเดียวแล้ว การแยกขยะดีต่อโลกมากกว่าที่คิด ดีต่อสภาพแวดล้อม และเจ้าหน้าที่กำจัดขยะ มารู้จักขยะแต่ละประเภท และวิธีการ "แยกขยะ" ที่ถูกต้องให้สามารถนำกลับมา รียูสหรือรีไซเคิล ได้อีกทั้งขยะเหล่านี้ยังสร้างมูลค่าได้อีกด้วย …

4 months ago

มุ่งสู่ Net Zero ด้วย Digital Transformation เพื่อเริ่มต้นสร้างคาร์บอนเครดิต

     รู้สึกไหมว่าอากาศร้อนขึ้นทุกปี ๆ แถมบางช่วงอากาศยังเปลี่ยนแปลงแบบสุดขั้วอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ทั้งหมดนี้หลัก ๆ เกิดจากปรากฏการณ์โลกร้อนที่เกิดขึ้นทั่วโลก จนหลายประเทศเริ่มตั้งนโยบาย Net zero กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งนโยบาย Net zero…

1 year ago

This website uses cookies.